รับออกแบบเขียนคำสั่ง AutoCAD ด้วย Auto LISP เคล็ดลับ AutoCAD,โปรแกรม AutoLISP,Visual LISP,Perspective3D 2010 ~ SiAni_3D Auto LISP

Perspective 3D บูธสินค้า

ทำภาพ Perspective 3D บูธสินค้าต่างๆ

AutoLISP and Visual LISP

AutoLISP and Visual LISP โปรแกรมที่จะช่วยในการทำงาน ของ AutoCAD ง่ายและรวดเร็วขึ้น

ถอดแบบเฟอร์นิเจอร์

รับถอดแบบเฟอร์เจอร์ทุกชนิด จัดทำ Drawing , Assembly ,Parts,Fitting,Packing

This is default featured slide 4 title

Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions..

This is default featured slide 5 title

Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions..

วันศุกร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2553

AutoLISP-เขียนบันไดเหล็ก

คำสั่ง เขียนบันได เหล็ก

สามารถสร้า้งบันใดเหล็กที่มีการ์ดกันตกด้านหลัง
เพียงไม่กี่วินาที่


ยังอยู่ในขั้นพัฒนาปรับปรุง

คำสั่ง
str

ตัวอย่าง



เลือกตำแหน่ง




มาแล้วบันใดของเรา
การ์ดจะอยู่ที่ 2200 มม.สูงจากพื้น
และราวมือจับสูงจากวัตถุ 1100 มม. ตามมาตรฐาน



ไม่ว่าขนาดจะสูง-ต่ำแค่ไหนก็สามารถสร้างได้ง่ายๆ
เพียงคลิก จุด 2จุด







วันพฤหัสบดีที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2553

AutoLISP-คำสั่ง เขียนท่อ (Pipe)


คำสั่งโปรแกรม
PP

เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเขียนท่อต่างๆมีขนาดให้เลือกเป็นนิ้ว หรือจะกำหนด เป็นมม.
โดยสร้า้งเส้น อ้างอิงตำแหน่ง เป็ยไกด์ไลน์






จากนั้นเลือกตรงเส้น โปรแกรมก็จะแปลงร่างเส้น เป็นลายท่อโดยทันที่


*หมายเหตุ ขนาดท่อที่มีอยูในโปรแกรม ขนาดเป็นนิ้ว dia โตนอกกับเท่า ท่อจริง


วันพุธที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2553

AutoLISP- เปลี่ยนตัวอักษร



 เปลี่ยนตัวอักษร ภาอังกฤษ พิมพ์เล็ก-ใหญ่
ตัวอย่าง



















วันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

AutoLISP-คำสั่ง Open ไฟล์ อัตโนมัติ

คำสั่ง Open ไฟล์ อัตโนมัติคำสั่งนี้เป็นคำสั่ง สำหรับ open ไฟล์ อัตโนมัติ
โดยเพียงป้อนรหัสแบบเข้าไปโปรแกรมจะทำการ ตรวจสอบรหัสนั้น และเปิดไฟล์นั้นขึ้นมา
ใช้งานได้ทั้งระดับ เครื่องเดี่ยว และระบบวง Lan
ถ้ารหัสแบบไม่ถูกต้องโปรแกรมจะแสดง dialog box ขึ้นมา เพื่อแจ้งให้ผู้ใช้งานรู้ว่ารหัสผิดพลาดตรงไหน
ตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม

1.ป้อนคำสั่ง

- โปรแกรมให้เราใส่ รหัสของแบบ (ผมจะเปิดแบบ BG-04-1-004 ขึ้นมา)
การป้อนรหัสแบบนั้น สารมารถป้อนใช้ ตัวอักษร ภาษาอังกฤษ พิมพ์เล็ก หรือ พิมพ์ใหญ่ก็ได้

2.โปรแกรมก็จะเปิดไฟล์แบบนั้นขึ้นมา ถ้ารหัสแบบ ที่ป้อนนั้นถูกต้อง





3.ในกรณีที่ป้อนรหัสแบบไม่ถูกต้องโปรแกรมจะแสดง dialog box ขึ้นมา
เพื่อแจ้งให้ผู้ใช้งานรู้ว่ารหัสผิดพลาดตรงไหน

เช่น







หรือ



นอกจากนี้ โปรแกรม open สามารถ บันทึกข้อมูล ของการเปิดไฟล์

เก็บไว้เพื่อตรวจสอบ ว่ามีการเปิดไฟล์ขึ้นมาใช้ไหร่ ข้อมูล

เช่น
-ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ user name (กรณีการใช้งาน ในระบบวง Lan)

-ที่อยู่ของไฟล์และชื่อแบบ

-วันที่และเวลาที่มีการเปิดไฟล์ขึ้นมา

โดยโปรแกรมจะบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในไฟล์ Text.log

ทุกครั้งผู้ใช้งานเปิดไฟล์นั้นขึ้นมาและผู้ใช้งานสามารถเปิดขึ้นมา

เพื่อตรวจสอบข้อมูลต่างๆได้โดยการบันทึกข้อมูลนั้น
อาจจะรวมข้อมูลทั้งหมดเก็บไว้ในไฟล์เดียวหรืออาจจะแยกตาม ชื่อของแบบ


ดังรูป

ไฟล์ข้อมูลรวม








ไฟล์ข้อมูลแยกตามชื่อแบบ

AutoLISP-คำสั่ง Save ไฟล์ อัตโนมัติ

คำสั่ง Save ไฟล์ อัตโนมัติคำสั่งนี้เป็นคำสั่ง สำหรับ Save ใหม่ อัตโนมัติ
ที่ต้องการ run รหัสแบบไปเรื่อยๆหลายๆองค์กรที่ผู้ใช้งาน Auto cad หลายเครื่อง
หลายๆท่านคงรู้สึกเบื่อหน่ายกับการต้องคนหาไฟล์ ที่ update

โดยที่ไม่อาจรู้ได้ว่าไฟล์อยู่เครื่องไหน หรือแม้ว่าจะไฟล์นำไฟล์นั้น ไปเก็บไว้ในที่เดียวกัน
ที่มีระบบการแชร์ไฟล์หรือ Lan

แต่ปัญหาส่วนใหญ่ก็เกิดขึ้นได้ เพราะ คนทำงานที่รีบร้อน จนหลายครั้ง Save ไฟล์
ไว้ในรหัสหนึ่งแต่รหัสในแบบกลับลืมแก้ไขให้เป็นไฟล์ที่ Save จนก่อให้เกิด ปัญหาตามมาที่หลัง

จากประสบการณ์เหล่านี้ ผมจึงได้คิดคำสั่งนี้ขึ้นมาหลักการทำงานนั้นแสนง่าย
เพียงแค่คุณ ป้อน คำสั่ง save ผ่านทาง shot key
โปรแกรม ก็จะแสดงข้อความให้เลือกประเภทของงานแบบ
แล้วดึงค่าน้อยที่สุดของรหัสแบบ ที่ยังไม่มีการบันทึก แล้ว Save เป็นไฟล์นั้น
จากนั้นโปรแกรมจะทำการ Update ข้อมูลต่าง ใน Templates Drawing เช่น วันที่ รหัสแบบ และอื่นๆ
แต่ต้องอยู่บน Layout แบบเท่านั้น การบันทึกรหัสจะ RUN ไปเรื่อยๆ
โดยการเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลหลักแต่การตั้งรหัสแบบนั้นต้องสอดคล้องกับ Folder ที่อยู่ของแบบ
เช่น BG-01-1-001
BG คือ Folder ของ BG
01 คือ Folder ของ 01 >อยู่ใน Folder ของ BG
1 คือ Folder ของ 1 >อยู่ใน Folder ของ BG>และ Folder ของ 01 001 คือ รหัส ในFolder ของ 01 ดังรูป

ตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม

1.ป้อนคำสั่ง

- โปรแกรมจะแสดงข้อความให้เราเลือก
- กดหมายเลข ตามระบบของงาน



2.โปรแกรมก็จะแสดงข้อความให้เราเลือกบริษัทหลัก



3.โปรแกรมก็จะแสดงข้อความให้เราเลือกบริษัทย่อย





4.จากนั้นโปรมแกรมจำการเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้มา เพื่อหารหัสแบบที่ยังไม่มี แล้วก็ Save เป็นรหัสนั้น
5.โปรแกรมจะทำการแก้ไขข้อมูลต่างๆในส่วนของ Templates Drawing
เช่น รหัสแบบ วันที่ และอื่นๆ ขึ้นอยู่กับรายละเอียดของ Templates นั้นๆ



6.เมื่อโปรแกรมบันทึกไฟล์เรียบร้อยแล้ว จะแสดง Dialog box บอกว่าไฟล์นั้นอยู่ Folder ไหน และชื่อของรหัสแบบ
เท่านี้ก็เรียบร้อย





นอกจากนี้ โปรแกรม save สามารถ บันทึกข้อมูล ของการ save ไฟล์ใหม่
เก็บไว้เพื่อตรวจสอบ ข้อมูล
เช่น
-ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ user name (กรณีการใช้งาน ในระบบวง Lan)
-ที่อยู่ของไฟล์และชื่อแบบ
-วันที่และเวลาที่มีการ save ไฟล์ขึ้นมาใหม่
โดยโปรแกรมจะบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในไฟล์ Text.log ทุกครั้งผู้ใช้งาน save ไฟล์ขึ้นมาใหม่และผู้ใช้งานสามารถเปิดขึ้นมาเพื่อตรวจสอบข้อมูลต่างๆได้โดยการบันทึกข้อมูลนั้น
อาจจะรวมข้อมูลทั้งหมดเก็บไว้ในไฟล์เดียว
หรืออาจจะแยกตาม ชื่อของงาน

ดังรูป
ไฟล์ข้อมูลรวม



ไฟล์ข้อมูลแยกตามประเภทงาน.





จากนั้นเวลาเราเปิดแบบ ก็เพียงแค่เราใส่รหัสของแบบเข้าไป ตามคำสั่ง Open ไฟล์ อัตโนมัติ

วันจันทร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553

AutoLISP-คำสั่ง Insert Block แบบง่ายๆ



เบื่อกับการ Insert Block ที่มีรายการ Block เยอะๆมั้ย
Blockก็เยอะ กว่าจะค้นหาเจอแทบแย่

Insert Block ใช้เวลาในการค้นหา Block แต่ละที ก็นานอยู่
Insert Block เข้าซัก 10 Block แล้วใช้เวลาเท่าไหร่

Autolisp สามารถจัดการ การ Insert Block ให้เป็นเรื่องง้าย..ง่าย
โดยการป้อนข้อมูล ผ่านCommand : ทั้งหมด แทบจะไม่ต้องใช้เมาส์เลย
ก็ว่าได้ครับ

ตัวอย่าง

อันนี้คำสั่ง สำหรับการ Insert Block มีขั้นตอนการทำงานดังนี้ครับ

1.เริ่ม ป้อนคำหลัก เพื่อเรียกคำสั่งขึ้นมา



2.โปรแกรมจะถาม ให้เราเลือก ชนิดของ Block
อันนี้ ให้ เลือก 1 หรือ 2


3.เมื่อเลืก อุปกรณ์ โปรแกรมก็แสดงรายละเอียดของรายการอุกปรณ์ขึ้นมา ตรงนี้ผมได้แยกตามกลุ่มไว้ตามรูปครับ เพื่อง่ายต่อการ เลือก อันนี้คือเลือก WIRE -WAY จาก stepแรก
4.อันนี้เลือก หมายเลข 1 คือ W-3-XXX โปรแกรมก็จะแสดง รายละเอียดของรายการ W-3-XXX ว่ามีรุ่นไหนบ้าง
แล้วเราก็เลือกรุ่น ตามที่เราต้องการครับ
5. เข้าสู่ step สุดท้าย คลิก เลือก ตำแหน่ง

เท่าก็เส็รจพิธี มาแล้วครับ BLOCK ของเรา ไม่ต้องไปค้นหาให้ตาลาย

วันอาทิตย์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2553

AutoLISP-คำสั่งหั่นหรือแบ่งชิ้นส่วน

ในหัวข้อการแบ่งหรือหั่นนี้ ขอยกตัวอย่าง งานไม้ หรือเหล็กแผ่น ที่มีขนาด มาตรฐานตายตัว 4x8 ฟุต แล้วนำมาแบ่งย่อยเป็นชิ้นๆ ทำให้ง่ายและสะดวกต่อประเมิณราคาต้นทุนของวัสดุ

ตัวอย่าง
อันนี้คือตัวอย่างการแบ่งไม้ของชิ้นส่วนเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งทำให้รู้ว่าต้องใช้ไม้ 4x8 กี่แผ่นถึงจะเพียง กับจำนวนที่ผลิต

1.ป้อนคำสั่ง ซึ่งผมได้สร้าง Template ไว้แล้ว


2.เลือกขนาดของไม้ กรณีที่มีหลายขนาด


3. ใส่ขนาดความกว้าง ยาว และความหนา ของชิ้นงานจริง

กว้าง



ยาว


หนา


4.โปรแกรมก็จะทำการแบ่งชิ้นตามขนาดที่เรากำหนด พร้อมกับเขียน Dimension ให้เสร็จเรียบร้อย และบอกขนาดของแนวตัดไว้ (กรณีนี้แนวตัด 5 มม.) ทำให้แม่นยำ ต่อการคำนวนมากยิ่งขึ้น และโปรแกรมจะบอกรายละเอียด ว่าตัดขนาดเท่าไหร่ ได้จำนวน กี่ชิ้น และบอกขนาดของเศษที่เหลืออีกด้วย ง่ายมั้ยละครับ ดีกว่าจะต้องมาคิดแล้วเขียนทีละเส้น


5.หลังจากนั้นโปรแกรมก็จะถาม ให้เราเลือกขนาดของเศษที่เหลือ
(กรณีนี้ผมเลือกแนว H หรือแนวนอน)



6.ผลลัพธ์ โปรแกรมก็จะตัดเส่นที่เราไม่ต้องการทิ้งไป ให้เหลือเพียงเศษชิ้นใหญ่ที่เราต้องการแทน

AutoLISP-updateวันที่ อัตโนมัติ-Autocad

1.ป้อนคำสั่ง




2.เลือก text เสร็จแล้ว (เร็วจังวู้)













Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...